วันพุธที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558




นางสาวจิราวรรณ  ไชยมณี  ชื่อเล่น ยุ้ย
รหัสนักศึกษา 573410240105
สาขาวิชาการศึกษาพิเศษและการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1




พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์

พยัญชนะ
พยัญชนะไทยมี 44 รูป สามารถแบ่งตามฐานที่ใช้ในการออกเสียงเป็นวรรค ดังเช่นในภาษาบาลีและสันสกฤต พร้อมแสดงชื่อเรียกในปัจจุบัน
วรรค กะ- ไก่ ไข่ ขวด* ควาย คน* ระฆัง งู
วรรค จะ- จาน ฉิ่ง ช้าง โซ่ เฌอ หญิง
วรรค ฏะ- ชฎา ปฏัก ฐาน มณโฑ ผู้เฒ่า เณร
วรรค ตะ- เด็ก เต่า ถุง ทหาร ธง หนู
วรรค ปะ- ใบไม้ ปลา ผึ้ง ฝา พาน ฟัน สำเภา ม้า
เศษวรรค- ยักษ์ เรือ ลิง แหวน ศาลา ฤๅษี เสือ หีบ จุฬา

พยัญชนะไทยยังแบ่งออกเป็น 
หมู่ เรียกว่า ไตรยางศ์ ประกอบด้วยเนื่องจาก ฃ และ ฅ ปัจจุบันไม่พบการใช้งาน จึงอนุโลมใช้ ข และ ค แทนในการสะกด
  • อักษรสูง       11 ตัว ได้แก่ ข  ฃ  ฉ  ฐ  ถ  ผ  ฝ  ศ  ษ  ส  ห
  • อักษรกลาง   9 ตัว ได้แก่ ก  จ  ฎ  ฏ  ด  ต  บ  ป  อ
  • อักษรต่ำ       24 ตัว ได้แก่ ค  ฅ  ฆ  ง  ช  ซ  ฌ  ญ  ฑ  ฒ  ณ  ท  ธ  น  พ  ฟ  ภ  ม  ย  ร  ล  ว  ฬ  ฮ




สระ

สระในภาษาไทยมี 21 รูป ซึ่งรูปสระเหล่านี้จะนำไปประกอบเป็นรูปสระที่ใช้จริงอีกต่อหนึ่ง
หมายเหตุ : ที่แสดงข้างต้นเป็นสระเดี่ยว สระที่เหลือเป็นสระผสม เช่น เ-ะ ผสมจาก เ และ  ะ

วรรณยุกต์
วรรณยุกต์ในภาษาไทยมี รูป เสียง
คำทุกคำในภาษาไทยจะมีเสียงวรรณยุกต์เสมอ แม้ว่าจะไม่มีรูปวรรณยุกต์แสดงให้เห็นก็ตาม

รูปวรรณยุกต์
  •  ่ ไม้เอก
  •  ้ ไม้โท
  •  ๊ ไม้ตรี
  •  ๋ ไม้จัตวา                                                  

เสียงวรรณยุกต์
  • เสียงสามัญ
  • เสียงเอก
  • เสียงโท
  • เสียงตรี
  • เสียงจัตวา





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น